ยังมีเรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจอีกนะคะ ตามไปชมได้เลยยย ย..
วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
WELCOME to HW4tub1-4 's b l o g
ประเพณีลอยเรือ
NEXT>> การแสดงภาคกลาง
เพลงเกี่ยวข้าว
NEXT>> การแสดงภาคอื่น ๆ
เต้นกำรำเคียว
เป็นการแสดงพื้นเมืองที่เก่าแก่ของชาวชนบทในภาคกลาง แถบจังหวัดนครสวรรค์ ซึ่งชาวชนบทส่วนมากมีอาชีพการทำนาเป็นหลัก และด้วยนิสัยรักสนุกกับการเป็นเจ้าบทเจ้ากลอน จึงได้เกิดการเต้นกำรำเคียวขึ้น ในเนื้อเพลงจะสะท้อนให้เห็นสภาพความเป็นอยู่ของชาวบ้าน ลักษณะการรำ จะเน้นความสนุกเป็นใหญ่ มีทั้งเต้นและรำควบคู่กันไป ในมือของผู้รำข้างหนึ่งจะถือเคียว อีกข้างหนึ่งถือข้าวที่เกี่ยวแล้ว จึงเรียกการแสดงนี้ว่า "เต้นกำรำเคียว" จะเล่นกันในฤดูเกี่ยวข้าว
NEXT>> เพลงเกี่ยวข้าว
ระบำปาเต๊ะ
NEXT>> ประเพณีลอยเรือ
ระบำร่อนแร่
NEXT>>
ระบำปาเต๊ะเซิ้งสวิง
อุปกรณ์ หญิงถือสวิง ชายสะพายข้อง
การแต่งกาย
- ฝ่ายหญิงสวมเสื้อแขนกระบอกคอกลม นุ่งซิ่นมัดหมี่ เกล้าผมมวยทัดดอกไม้
- ฝ่ายชายสวมเสื้อม่อฮ่อม นุ่งกางเกงขาก๊วย เอาผ้าขาวม้าคาดพุง
NEXT>>
การแสดงภาคใต้ระบำกรีดยาง
NEXT>> ระบำร่อนแร่
รำบ้านกระโดก
เครื่องแต่งกาย ฝ่ายหญิงสวม เสื้อแขนกระบอก ห่มสไบนุ่งซิ่นมัดหมี่ ฝ่ายชายสวม เสื้อคอกลมแขนสั้นนุ่งกางเกงขาก๊วย ใช้ผ้าขาวม้ามัดเอว
เครื่องดนตรี ดนตรีที่ใช้ประกอบการฟ้อนจะใช้ดนตรีพื้นเมืองอีสาน
NEXT>> เซิ้งสวิง
รำปั้นหม้อ
เครื่องดนตรี ใช้ดนตรีพื้นเมืองอีสาน โดยใช้ลายลำเพลิน
NEXT>> รำบ้านกระโดก
ฟ้อนแพรวา
เครื่องดนตรี ดนตรีที่ใช้ประกอบการฟ้อนจะใช้ดนตรีพื้นเมืองอีสาน ทำนองเพลงลาวอุบล
NEXT>> รำปั้นหม้อ
ฟ้อนเก็บฝ้าย
การแต่งกาย
- หญิง สวมเสื้อแขนกระบอกสีดำตัดขอบแดง ใช้ผ้าแพรวาแดงมัดศีรษะและปล่อยชายมาด้านซ้าย นุ่งผ้าซิ่นมัดหมี่สลับจกสีดำ สะพายกระหยัง และสวมเครื่องประดับเงิน
NEXT>> ฟ้อนแพรวา
รำต่ำหูกผูกขิด
เครื่องดนตรี ใช้ดนตรีพื้นเมืองอีสาน ใช้ลายลำเพลิน และทำนองเซิ้ง
NEXT>> ฟ้อนเก็บฝ้าย
จ้องบ่อสร้าง
NEXT>> การแสดงภาคอีสาน
ฟ้อนสาวไหม
ฟ้อนสาวไหม เกี่ยวข้องกับอาชีพการทอผ้า ซึ่งเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนในภาคเหนือ (ล้านนา)
กิจกรรมในวิถีชีวิตของชาวล้านนาส่วนใหญ่ผูกพันกับด้ายที่มาจากฝ้าย เพราะทำไร่ฝ้ายซึ่งเป็นพืชที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศ ไม่ได้มีอาชีพปลูกหม่อนเลี้ยงไหมเหมือนภาคอื่น
หลักฐานที่สนับสนุนว่าการฟ้อนสาวไหม หมายถึงการฟ้อนที่ประดิษฐ์มาจากกระบวนการทอผ้าฝ้ายไม่ใช่ผ้าไหม ก็คือ สภาพความเป็นอยู่ การปลูกต้นฝ้ายเพื่อใช้ทอเป็นผ้าฝ้ายของชาวล้านนาตั้งแต่อดีตนั่นเอง ในล้านนามีการเลี้ยงไหมอยู่น้อยมากจนไม่อาจจะเรียกได้ว่าการปลูกหม่อน เลี้ยงไหมเป็นวัฒนธรรมของล้านนา
NEXT>> จ้องบ่อสร้าง
การแสดงภาคอื่น ๆ
นอกจากการแสดง การละเล่นพื้นบ้านของทั้ง 4 ภาค คือ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ และภาคกลางแล้ว ยังมีการแสดงที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพของภาคอื่น ๆ อีก
ตัวอย่างการแสดง เช่น
การแสดงภาคกลาง
*
ภาคเหนือการแสดงภาคใต้
การแสดงภาคอีสาน
การแสดงและการละเล่นมักเกิดจากกิจวัตรประจำวัน การทำงานประกอบอาชีพในแต่ละวัน
ตัวอย่างการแสดง เช่น
*
ภาคเหนือการแสดงภาคเหนือ
การฟ้อนศิลปาชีพ
ชุดการฟ้อนศิลปาชีพนี้มีการแสดงในหลายภาค
อาชีพที่มีผลต่อการแสดง
- เกษตรกรรม
- กสิกรรม
- ศิลปหัตถกรรม
อาชีพทางด้านต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดการแสดงและการละเล่นต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความสนุกเพลิดเพลิน ภายหลังความเหน็ดเหนื่อยจากการทำงาน หรือสะท้อนให้เห็นการทำงานนั้น ๆ เช่น เต้นกำรำเคียว ระบำกรีดยาง รำปั้นหม้อ ฟ้อนสาวไหม เป็นต้น
ภาพการแสดง "ฟ้อนสาวไหม"
NEXT>> การฟ้อนศิลปาชีพ
"อาชีพ" ปัจจัยที่มีผลต่อนาฏศิลป์และการแสดง
อาชีพ
เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลต่อการก่อเกิด และการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ไทย รวมถึงการแสดงต่าง ๆ โดยเฉพาะการแสดงพื้นเมือง และการละเล่นพื้นบ้านต่าง ๆการแสดงพื้นเมือง จะมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของท้องถิ่นนั้น ซึ่งจะสะท้อนให้เห็นถึงวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ การประกอบอาชีพ
ท้องถิ่นที่ต่างกัน มีการดำรงชีวิต การประกอบอาชีพที่แตกต่างกันไปตามลักษณะของท้องถิ่นนั้น ก็ส่งผลให้เกิดการแสดงที่มีเอกลักษณ์แตกต่างกันออกไป